เทรนนิ่งฟังก์ชั่น
เสริมประสิทธิภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ลดระยะเวลาการฝึกอบรม
สนับสนุน Self-learning
ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม หรือ สอบถามโทร 062-295-6588
เวลาที่จะฝึกอบรมพนักงานใหม่ คุณเคยกังวลใจกับเรื่องเหล่านี้หรือไม่ ?
ผู้อบรม (Trainer)
- ไม่มีเอกสารประกอบการอบรม
- เอกสารประกอบการอบรมไม่อัปเดต
- แต่ละคน/สาขาสอนงานไม่เหมือนกัน
- งานยุ่งมาก ไม่มีเวลาสอน
- อบรมบ่อยเพราะพนักงานลาออกบ่อย
- อบรมแล้วทำตามไม่ได้ต้องสอนใหม่
- กลัวอบรมขั้นตอนการทำงานไม่ถูกต้อง
- ไม่กล้าสอนจนกว่าตัวเองจะเป็นพนักงานที่มีความรู้และประสบการณ์
- ต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพของ OJT
- ไม่รู้ความคืบหน้าของ OJT
ผู้รับอบรม (Trainee)
- ไม่กล้าถามเพราะผู้สอนงานยุ่ง
- ไม่กล้าถามต่อหน้าคนเยอะๆ กลัวคนอื่นรู้ว่าไม่เข้าใจ
- วิธีการทำงานของผู้สอนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ทำให้สับสน
- ต้องการทบทวนสิ่งที่อบรมไปแล้ว
- กังวลและไม่รู้ว่าต้องจำอะไรถึงไหน
- อยากอบรมออนไลน์แต่ระบบบริษัทไม่รองรับ
- อยากเรียนรู้ด้วยตัวเองก่อนเริ่มงานจริง
- อยากทบทวนขั้นตอนการทำงานด้วยตัวเองที่หน้างาน
- อยากรู้ขอบเขตงานล่วงหน้า
- อยากทดลองเรียนรู้งานส่วนอื่น
เพิ่มประสิทธิภาพการอบรมพนักงานกันไหม ?
คู่มือการทำงานต้องไม่ใช่สิ่งที่ทำให้มาตรฐานหรือประสิทธิภาพในการทำงานลดลง แต่คู่มือการทำงานก็ไม่ใช่ว่าสร้างเสร็จแล้วจะจบเลย
อยากแชร์คู่มือการทำงานให้ได้อย่างรวดเร็ว ปฏิบัติตามอย่างแม่นยำ และใช้งานอย่างทั่วถึง
สิ่งที่จะทำให้ความต้องการทั้งหมดนี้เป็นจริงได้ก็คือ Training Function
การใช้งาน Training Function สำหรับอบรมพนักงานนั้น ไม่เพียงส่งเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้ด้วยตัวเอง การอบรมแบบ Flipped classroom* และยกระดับการสอนงานในองค์กรเท่านั้น แต่ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพด้านการอบรมพนักงาน ซึ่งจะส่งผลดีต่อการบริหารในภาพรวม ทั้งลดอัตราการลาออก และปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานได้ด้วย
*วิธีอบรมรมที่มีประสิทธิภาพจากการสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาที่จำเป็นด้วยตัวเองล่วงหน้า และใช้การเทรนนิ่งหรือ OJT เป็นสถานที่สำหรับทำงานจริง
แก้ปัญหาด้านการบริหารองค์กรด้วยเทรนนิ่งฟังก์ชัน
เทรนนิ่งฟังก์ชันคือ
1. ฟังก์ชันที่สามารถสร้างหลักสูตรอบรมได้จากการเลือกคู่มือการทำงาน
เทรนเนอร์สามารถสร้างหลักสูตรสำหรับอบรมพนักงานได้ตามประเภทงาน ลักษณะการจ้างงาน หน้าที่รับผิดชอบ โดยเลือกคู่มือที่มีอยู่มาเป็นหลักสูตร
2. เลือกและมอบหมายหลักสูตรจากรายการที่สร้างไว้
เลือกและมอบหมายหลักสูตรที่ต้องการให้พนักงานเข้าอบรมจากรายการหลักสูตรที่สร้างไว้
3. ผู้อบรม (Trainee) ศึกษาเนื้อหาการทำงานผ่านคู่มือในหลักสูตร
เทรนเนอร์สามารถสร้างหลักสูตรสำหรับอบรมพนักงานได้ตามประเภทงาน ลักษณะการจ้างงาน หน้าที่รับผิดชอบ โดยเลือกคู่มือที่มีอยู่มาเป็นหลักสูตร
4. ตรวจสอบสถานะการอบรม
ตรวจสอบสถานะการเข้าอบรมหรือความคืบหน้าของการอบรมแบบเรียลไทม์
การใช้งานเทรนนิ่งฟังก์ชัน
สร้างหลักสูตรเพื่ออบรมและติดตามผลการอบรมพนักงานผ่านออนไลน์
สร้างหลักสูตรจากการเลือกคู่มือการทำงาน
การใช้งานเทรนนิ่งฟังก์ชัน
สร้างหลักสูตรเพื่ออบรมและติดตามผลการอบรมพนักงานผ่านออนไลน์
รวบรวมสถิติเกี่ยวกับการเทรนนิ่งของแต่ละร้านได้อัตโนมัติ
ติดตามสถานะการอบรมของแต่ละบัญชีได้แบบเรียลไทม์ ลดความแตกต่างของการบริหารในแต่ละสาขา ให้ทุกสาขามีมาตรฐานเดียวกัน
ฟังก์ชันอนุมัติการจบหลักสูตรพร้อมเลื่อนขั้นการเทรนนิ่ง
ประเมินผลและอนุมัติให้ผู้ปฏิบัติผ่านหรือไม่ผ่านหลักสูตรได้ พร้อมทั้งมอบหมายหลักสูตรอบรมต่อไปได้ทันที
ฟังก์ชันใหม่
วิเคราะห์ความคืบหน้า
หลังจากสร้างและมอบหมายหลักสูตรไปยังพนักงานแล้ว
ผู้อบรม (Trainer) จะสามารถตรวจสอบและวิเคราะห์ความคืบหน้าของการอบรมได้
สาขานี้ใช้งานเยอะเลย!
ส่วนสาขานี้ไม่ได้ใช้งานเลยนะเนี่ย…
ตัวอย่างผลลัพธ์การใช้งาน Training Function
ตัวอย่างการใช้งานบริษัทค้าปลีก (โฮมเซ็นเตอร์)
ใช้ Teachme Biz แทนเอกสารประกอบการอบรมสำหรับการทดสอบความสามารถพนักงานที่จัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง
ผลปรากฎว่าอัตราการสอบผ่านของพนักงานจำนวนหนึ่ง (20 คน) เพิ่มขึ้นจาก 57%→83% และคะแนนเพิ่มขึ้นถึง 26 คะแนน!
ตัวอย่างการใช้งานบริษัทค้าปลีก (ซูเปอร์มาร์เก็ต)
จัดการองค์ความรู้ตามตารางการทำงานและแชร์ให้พนักงาน ทำให้ผลิตผลเพิ่มขึ้น นอกจากนี้การจัดเนื้อหาคู่มือเป็นหมวดหมู่และมอบหมายหลักสูตรการอบรมให้พนักงานแต่ละกะในทุกสาขาได้เรียนรู้นั้น ผลปรากฎว่าพนักงาน 80% ตอบแบบสอบถามว่าเนื้อหาการทำงาน “เข้าใจง่าย”
ตัวอย่างการใช้งานธุรกิจไฟฟ้าและพลังงาน (บำรุงรักษาเครื่องจักร)
เปลี่ยนจากอบรมที่สำนักงานใหญ่เป็นอบรมออนไลน์ผ่าน Training Function ใน Teachme Biz แล้วปรากฎว่าอบรมเสร็จได้ภายใน 1.5 เดือนจากที่ตอนแรกวางแผนไว้ว่าจะใช้เวลาอบรมทั้งหมด 2.5 เดือน
%
อัตราส่วนของคนที่ผ่านการทดสอบจากการอบรมทั่วไป
อัตราส่วนของคนที่ผ่านการทดสอบ
เพิ่มสูงขึ้นถึง 165% เมื่อเปลี่ยนจากการอบรมทั่วไปสู่ ระบบ Self-learning
(เรียนรู้ฝึกฝนด้วยตนเอง)
%